เซต Cantor แบบสามส่วน
แฟร็กทัลตัวหนึ่งที่เรียบง่าย แล้วก็ซับซ้อน แล้วก็กลับมาเรียบง่าย แต่ก็ยังไม่ทิ้งลายความซับซ้อน คงหนีไม่พ้นเซต Cantor แบบสามส่วน ซึ่งมันเป็นเซตของจำนวนจริงในช่วงปิด
โดยตัวเซต Cantor จริงๆ แล้วนั้นจะเป็นเซตปลายทางเมื่อเราดำดิ่งลงไปในความสัมพันธ์เวียนเกิดข้างต้นอย่างไม่รู้จบ ซึ่งก็คือ
มองเป็นสมการอาจไม่น่าตื่นตาตื่นใจเท่าไหร่ (หรืออาจถึงขั้นเห็นไม่ชัดเลยว่ามันจะเป็นแฟร็กทัลยังไงด้วย) แต่ถ้าได้ลองวาดรูปบนเส้นจำนวนดูก็น่าจะเห็นภาพอย่างชัดเจน ว่ามันก็คือการลบกล่องสี่เหลี่ยมตรงกลางขนาดความกว้าง
ซูมดู
ให้ลึกลงไป – สัดส่วนการซูมในแกนตั้งกับแกนนอนนั้นไม่เท่ากัน
มันจะมีรายละเอียดปลีกย่อยทางเทคนิคเล็กๆน้อยๆ อย่างเช่นว่าเราเริ่มด้วยกล่องสี่เหลี่ยมที่เป็นช่วงปิด (รวมค่าสุดขอบที่หัวท้าย) แต่ตอนลบช่วงตรงกลางนั้นเราลบด้วยช่วงเปิด (ไม่รวมขอบหัวท้าย) ดังนั้นหลังจากลบเสร็จ เราจะได้ช่วงปิดสองช่วงกลับมา นี่ทำให้ท้ายที่สุดแล้ว
ซึ่งเราน่าจะเห็นได้ชัดผ่านการเขียนค่าสมาชิกใน
แต่ความน่าตื่นตาตื่นใจยิ่งกว่า ก็คือแม้ว่า
พูดอีกอย่างก็คือ
โดยนิยามการบวกระหว่างเซตว่า
ซึ่งอาจพิสูจน์ให้เห็นได้สวยๆ ผ่านการอุปนัย ที่ย้อนกลับไปเอา
แล้วหลังจากนั้น
แน่นอนว่าวาดภาพออกมาน่าจะช่วยให้เห็นคอนเซปต์ได้ง่ายกว่า(?)
บทพิสูจน์ด้วยการแปะภาพคนดัง 😜
ความเจ๋งจากแนวทางการอุปนัยเช่นนี้ คือเราสามารถประยุกต์ใช้มันเพื่อหาว่าสำหรับแต่ละ
ซึ่งก็คือเราจะค่อยๆ แกะค่าออกมาโดยเริ่มจาก
สรุปเป็นอัลกอริทึมโดยเริ่มที่
- พิจารณาว่า
อยู่ในช่วงใด แล้วทดค่าเก็บไว้ในรูปของ- หาก
ทดค่า - หาก
ทดค่า - หาก
ทดค่า
- หาก
- คำนวณ
- เพิ่มค่า
แล้วย้อนกลับไปทำข้อ 1. ไล่มาเรื่อยๆ จนกว่าจะเหนื่อย
เหนื่อยแล้วจะได้ลิสต์
หลังจากนั้นแปลงเป็นจำนวนจุดลอยตัวในฐานสาม โดยให้
ตัวอย่างเช่น
ดังนั้นจึงหา
หมายเหตุว่าอัลกอริทึมดังกล่าวไม่จำเป็นต้องให้คำตอบเพียงแค่วิธีเดียวที่เป็นไปได้ ลองดูตัวอย่างเมื่อต้องการ
ที่อาจให้คำตอบแรกอันเรียบง่ายกลับมาว่า
แต่เพราะการบวกมีสมบัติสลับที่ ดังนั้นค่าที่จดไว้ว่า
หรือแม้กระทั่ง
ซ.ต.พ.

author