วงแหวนเว็บ

neizod's speculation

insufficient data for meaningful answer

October 19, 2018

ฮัมเพลงได้มาตั้งนาน แต่เพิ่งรู้ว่าเพลงนี้ชื่อ Tears in Heaven และเพิ่งรู้ว่าเป็นของ Eric Clapton …

Read More
October 15, 2018

แม้ชื่อเรื่องจะมีคำว่าโอเปร่า แต่หลายต่อหลายคนน่าจะรู้จักมันในฐานะละครเพลงชื่อดัง (1986) ที่ประสบความสำเร็จอย่างล้นหลาม (ได้ละครเพลงยอดเยี่ยมทั้งจาก Olivier และ Tony) จนกลายมาเป็นหนังจอแก้ว (2004) ในที่สุด …

Read More

เนื่องจาก TechJam ไม่ได้เปิดเผยรายชื่อผู้เข้ารอบเป็นข้อมูลสาธารณะ พอถึงหน้างานเลยเพิ่งรู้ว่านี่มันงานรวมญาติสสวท.คอมพิวเตอร์โอลิมปิกนี่หน่า! รู้สึกว่ามาผิดงานซะเหลือเกิน 5555 มองไปทางไหนก็เจอแต่คนใส่เสื้อ Google Code Jam เต็มไปหมด (ส่วนเรานี่สาย Open Source เลยใส่เสื้อ Hacktoberfest ไป) เดินไปเดินมาซักพักก็เจอ @haxxpop กับ @dtinth ก็เลยจับกลุ่มร่วมกับ @ipats เพื่อนร่วมทีม (ผู้มาสาย) นั่งคุยสัพเพเหระกันระหว่างรอแข่งขัน

Read More

เราคิดว่าการที่หนังสือเรียนไม่ยอมสอนประวัติศาสตร์ร่วมสมัย เพราะคนเขียนไม่ต้องการให้เราจารึกประวัติศาสตร์หน้าถัดไปนั่นแหละ

Read More

ช่วงนี้เบื่อๆ เลยหาจังหวะเขียนโค้ดเล่น ก็บังเอิญกับที่ @taneekpet ส่งข่าวมาบอกว่า KBTG กำลังจัดแข่ง TechJam พอดี เลยมองซ้ายมองขวาคว้ามือ @ipats มาสมัครแข่งขันอย่างไม่คาดหวังอะไร 555 (ขนาดชื่อทีมยังตั้งว่า Monte Carlo เพราะกะว่าข้อไหนคิดไม่ออกก็จะสุ่มคำตอบเอาเลยละกัน)

Read More
September 30, 2018

ตอนเรียนเรื่องการนับและการจัดหมู่ครั้งแรก เห็นนิยาม $n!$ กับ $n!/r!$ แล้วก็ไม่ได้ตะหงิดติดใจอะไร แต่พอมาถึง $\binom{n}{r}=n!/r!(n-r)!$ แล้วแอบคาใจแปลกๆ ว่าทำไมตัวเลขตัวนี้ถึงเป็นจำนวนเต็มได้ … แน่นอนหละว่ามันเป็นการนับ ยังไงซะเราคงไม่นับสิ่งที่สนใจด้วยเลขที่ไม่ใช่จำนวนเต็มเป็นแน่ แต่มันจะมีวิธีการพิสูจน์แบบอื่นที่อธิบายได้รัดกุม ขจัดปัดเป่าข้อข้องใจนี้ทิ้งไป ไม่ชวนให้กลับมาสงสัยซ้ำๆ ในอนาคตมั้ย?

Read More

และนี่คือละครเพลงที่ทำให้ Wicked ชวดรางวัลใหญ่จาก Tony ในปี 2004 … ซึ่งก็นับว่าสมน้ำสมเนื้อแล้วเพราะมันสนุกสุดเหวี่ยง! (จนไม่อยากจะยอมรับเลยว่า พอเทียบกันแล้ว แม่มดเขียวแห่ง Oz กลายเป็นงานเด็กเล่นไปเลย 😜)

Read More

สมมติว่าเรามีเซต $A$ ซึ่งเก็บสิ่งของที่เปรียบเทียบอันดับกันได้อยู่ $n$ ชิ้น เราคงคุ้นเคยกันดีกับอัลกอริทึมสำหรับเลือกสิ่งของชิ้นที่เล็กสุด/ใหญ่สุด (อันดับแรก/สุดท้าย) ที่ทำงานได้ในเวลา $O(n)$ … แต่ถ้าเราต้องการเลือกสิ่งของในอันดับอื่นหละ อัลกอริทึมของเราจะหน้าตาเป็นอย่างไร?

Read More

ตอนก่อนเราได้พิจารณาการตัดกันของส่วนของเส้นตรงหนึ่งคู่ไปแล้ว ถึงแม้อัลกอริทึมจะมีการคำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน แต่เพราะมันมีจำนวนขั้นตอนวิธีที่คงที่ไม่ว่าข้อมูลนำเข้าจะเป็นอย่างไร (เพราะเราดันกำหนดให้ข้อมูลนำเข้าที่เป็นไปได้มีแค่ส่วนของเส้นตรงเพียงสองเส้น) ดังนั้นเราอาจมองง่ายๆ ว่าอัลกอริทึมดังกล่าวกินเวลาเป็น $O(1)$ ได้เลย

Read More